ค้นหาบล็อกนี้

วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554

วิชา.....ท้องถิ่นของเรา

8 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ17 สิงหาคม 2554 เวลา 16:52

    พรรณิดา

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ17 สิงหาคม 2554 เวลา 16:53

    พรรณิภา สินธุชน ม.2/5 รายงานตัวคะ

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ17 สิงหาคม 2554 เวลา 16:58

    ศูภวิชญ์ ศรีฟ้า ม.2/1

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ16 ธันวาคม 2554 เวลา 16:02

    ราชันย์ ปานาพุฒ

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ18 ธันวาคม 2554 เวลา 18:03

    ความเป็นมาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
    ดินแดนประวัติศาสตร์รอบอ่าวบ้านดอนถือเป็นศูนย์กลางอาณาจักรศรีวิชัยที่สะสมอารยธรรมและ สืบทอดกันมายาวนานจากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในดินแดนแห่งนี้ ทำให้ทราบว่าสภาพภูมิศาสตร์ทำให้มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาการของเมืองเป็นอย่างยิ่ง สุราษฎร์ธานีเป็นศูนย์กลางชุมชนเมืองที่ถูกจัดตั้งด้วยปัจจัยทางภูมิศาสตร์รอบอ่าวบ้านดอน เป็นศูนย์กลางการค้าขายนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโดยพัฒนามาพร้อม ๆ กับชุมชนโบราณอีกหลายแห่งที่อยู่บริเวณรอบอ่าวบ้านดอน ประกอบด้วยชุมชนเมืองสำคัญ ๆ เช่น
    เมืองไชยา เมืองโบราณมีศูนย์กลางที่ราบลุ่มคลองไชยาเกิดขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 10 เกิดผสมผสานระหว่างวั

    ราชันย์ ปานาพุฒ ม.3/4

    ตอบลบ
  6. ไม่ระบุชื่อ22 ธันวาคม 2554 เวลา 18:15

    สภาพภูมิศาสตร์แวดล้อมของสุราษฎร์ธานี

    ภูมิศาสตร์
    ที่ตั้งและอาณาเขต
    สภาพภูมิประเทศของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
    จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และอันดับ 1 ของภาคใต้ โดยมีจังหวัดที่มีอาณาเขตติดกัน ดังนี้
    -ด้านเหนือ ติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร และอ่าวไทย
    -ด้านใต้ ติดกับจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราช
    - ด้านตะวันออก ติดกับจังหวัดนครศรีธรรมราชและอ่าวไทย
    -ด้านตะวันตก ติดกับจังหวัดพังงา
    โดยทะเลฝั่งอ่าวไทยนั้นมีชายฝั่งยาวประมาณ 156 กิโลเมตร โดยมีเกาะที่อยู่ภายใต้เขตการปกครองของจังหวัดฯ ได้แก่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทองและยังมีเกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ชื่อว่าเมืองร้อยเกาะ เช่นเกาะนางยวน

    ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
    จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสูง รวมทั้งภูมิประเทศแบบภูเขาซึ่งกินพื้นที่ของจังหวัดถึงร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มน้ำที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำตาปี ไชยา ท่าทอง เป็นต้น
    ด้านตะวันออกเป็นฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีเกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้านตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำตาปี
    เนื่องจากทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก โดยกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.51 องศาเซลเซียส [12] และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตร

    ราชันย์ ปานาพุฒ ม.3/4

    ตอบลบ
  7. ไม่ระบุชื่อ22 ธันวาคม 2554 เวลา 18:20

    สภาพภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมในด้านของสภาพธรณีสัณฐานของ จ.สุราษฎร์ธานี

    ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
    จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสูง รวมทั้งภูมิประเทศแบบภูเขาซึ่งกินพื้นที่ของจังหวัดถึงร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มน้ำที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำตาปี ไชยา ท่าทอง เป็นต้น
    ด้านตะวันออกเป็นฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีเกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้านตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำตาปี
    เนื่องจากทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก โดยกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.51 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตร
    ราชันย์ ปานาพุฒ ม.3/4

    ตอบลบ